วันพฤหัสบดีที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

บรรณานุกรม

1. โครงการสมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเอง “หญ้าหนวดแมว” 2529, หน้า 8-10, 24
2. พะเยา เหมือนวงษ์ญาติ "สมุนไพรก้าวใหม่" 2537,หน้า 73
3. จุลสารข้อมูลสมุนไพร ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 ,2536 , หน้า 2
4. จุลสารข้อมูลสมุนไพร ปีที่ 14(4) , 2540, หน้า 13-14

ข้อเสนอแนะ

1.เราสามารถทำการทดลองกับสมุนไพรชนิดอื่นๆได้
2.เราสามารถนำไปประยุกต์ทำเป็นอย่างอื่นนอกจากแคปซูล

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

1.ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำแคปซูลยาสมุนไพร
2.ได้เรียนรู้เกี่ยวกับสรรพคุณยาของหญ้าหนวดแมวมากขึ้นกว่าเดิม

สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองสรุปได้ว่า การทำแคปซูลสมุนไพรหญ้าหนวดแมว ในใบหญ้าหนวดแมวมีเกลือโพแตสเซียม ในปริมาณที่สง งจากที่ทำออกมาเป็นแคปซูลแลวทำให้มีความสะดวกในการบริโภค และทำให้ทราบถึงกระบวนการผลิตสามารถเก็บไว้ได้นาน ควรตากใบให้แห้งก่อนนำมาบดและกรองก่อนใส่ลงในแคปซูล หลังจากที่บดละเอียดแล้วหญ้าหนวดแมวยังคงมีสีเขียวดังเดิม

อุปกรณ์และวิธีการทดลอง

1.วัสดุ
ใบหญ้านวดแมวที่ตากแห้งแล้ว
2.อุปกรณ์
-เครื่องบด
-เครื่องกรอง
-แคปซูลเปล่า
-ขวดบรรจุภัณฑ์
3.วิธีการทดลอง
1. นำใบต้นหญ้าหนวดแมวไปตากแดดให้แห้งสนิทประมาณ 2 วัน

2. นำไปบดในเครื่องบดให้ละเอียด
3. รองด้วยเครื่องกรองเพื่อเอากากออก
4. นำไปบรรจุลงแคปซูลจากนั้นใส่บรรจุภัณฑ์




ตัวแปร

ตัวแปรต้น
หญ้าหนวดแมว
ตัวแปรตาม
การดูแล แสงแดด อุณหภูมิ
ตัวแปรควบคุม
-

สมมุติฐานของการศึกษา

1.สรรพคุณต่างๆของหญ้าหนวดแมว
2.การทำแคปซูลยาสมุนไพรหญ้าหนวดแมว